-ความหมายของชื่อ
พระไม้ เปลือย นั่ง นอน ยืน เดิน ในสี่อิริยาบถ ในศาลา
-ปีพุทธศักราชในการสร้าง
2538-2540 เวลาในการสร้าง 3 เดือน ทีมช่างผู้ทำการก่อสร้าง สล่าอ้าย คณะสล่านางแล
-ที่มาและแรงบันดาลใจในการออกแบบ
กำหนดศูนย์กลางวัฒนธรรม ดินเผา ก่ออิฐถือปูน ประธานของกลุ่ม เรือนดินเผา หย่องศาลา ค้ำยัน คันทวย หน้าบันฝีมือช่างไทยใหญ่
-แผนผังอาคาร
อาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าวางตามแนวแกนทิศตะวันออก-ตก มีเสาไม้รองรับโครงสร้างจำนวน 4 ต้น
-รูปแบบสถาปัตยกรรม
ลักษณะเป็นอาคารชั้นเดียวยกพื้นสูงจากพื้นดินประมาณ 0.20 เมตร โครงสร้างอาคารเป็นโครงสร้าง ไม้ทั้งหมด มีเสาไม้รองรับโครงสร้างของอาคาร หลังคาทรงสามเหลี่ยมลดระดับสี่ชั้นมุงด้วยกระเบื้องดินเผา ไม่เคลือบสี ด้านบนประดับด้วยป้านลมและหางหงส์ ด้านล่างโล่งไม่มีผนังกั้น ลักษณะเป็นแบบศาลา
-ขนาด
กว้าง 2.30 เมตร ยาว 3.30 เมตร สูง 6.00 เมตร
-วัตถุจัดแสดงภายในบ้าน
พระไม้ สกุลช่างไทยใหญ่ สล่าม่าน สล่าเงี้ยว (ข้าเศิถเจ่นป้อ) ที่มาอยู่ ลำปาง ลำพูน เชียงใหม่ และยังรักษาประเพณีในการทำศิลปหัตถกรรมที่งดงาม
-เนื้อหาหรือความหมายโดยรวมของบ้าน
หลังคาที่ลดหลั่นจัตุรมุขทั้ง 4 ชั้น สื่อความหมายในเชิงพุทธปรัชญา มหาสติปัฏฐาน 4 นอกจากสุนทรียภาพพื้นฐาน
-จุดประสงค์ในการสร้าง
กำหนดอาณาเขต อาณาบริเวณวัฒนธรรม ไม้ ดินเผา อานาปานสติกรรมฐาน